พระวิสัยทัศน์ของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙

พระวิสัยทัศน์ของ
พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร รัชการที่ ๙

พระวิสัยทัศน์ของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ทรงทศพิธราชธรรม ทรงพระผนวชระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามพระสมณนามคือ "ภูมิพโลภิกขุ" พระองค์ทรงเล็งเห็นว่าพระพุทธศาสนาเป็นแหล่งสร้างศีลธรรมและจริยธรรมในสังคม อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางสำหรับการศึกษาคำสอนของพระพุทธเจ้า ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจหลายประการในการทะนุบำรุงศาสนาต่างๆ ในประเทศไทย

ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบรัฐพิธีก่อฤกษ์พุทธมณฑล ณ บริเวณที่จะก่อสร้างองค์พระประธานพุทธมณฑล เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๘ ณ พุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยรัฐบาล(จอมพลป. พิบูลย์สงคราม) ทรงเชื่อว่าการสร้างพุทธมณฑลจะช่วยให้พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในประเทศไทยและเน้นย้ำการปฏิบัติธรรมอย่างปิดกว้าง การจัดสร้างพุทธมณฑลจึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงให้งานก่อสร้างพุทธมณฑลได้อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ การสร้างพุทธมณฑลจึงสำเร็จเสร็จสมบูรณ์ในสมัยที่พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

ด้วยพระราชจริยวัตรเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงเป็นพุทธมามกะผู้เคร่งครัด และในฐานะที่ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก พระองค์ได้พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์บำรุงศาสนาอื่น ๆ ในพระราชอาณาจักรโดยทั่วถึงกัน ทำให้ประชาชนทุกชาติทุกภาษา ทุกศาสนาต่างอาศัยอยู่ร่วมกันในประเทศไทยอย่างสงบสุขราบรื่น




พระวิสัยทัศน์ของ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 10

พระวิสัยทัศน์ของ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร
รัชกาลที่ 10

พระวิสัยทัศน์ของ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 10

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริของสมเด็จพระบรมชนกนาถ รวมทั้งพระราชกรณียกิจด้านการศาสนา ดังนี้


  • ทรงพระผนวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2521 

  • ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

  • ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางศาสนาเป็นประจำ 

  • ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรตามฤดูกาล 

  • ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา, วันวิสาขบูชา, วันอาสาฬหบูชา, วันเข้าพรรษา 

  • ทรงถวายกฐินหลวงตามวัดต่าง ๆ

  • ทรงตั้งมั่นพระราชหฤทัยเกื้อหนุน เกื้อกูล เผยแผ่ และธำรงไว้ซึ่งการสืบทอดพระพุทธศาสนา ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ด้านศาสน อันเป็นภาพที่ซาบซึ้งใจของราษฎรชาวไทยทุกหมู่เหล่าเรื่อยมา

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริของสมเด็จพระบรมชนกนาถ รวมทั้งพระราชกรณียกิจด้านการศาสนา ดังนี้


  • ทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2521 

  • ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

  • ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางศาสนาเป็นประจำ 

  • ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรตามฤดูกาล 

  • ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา, วันวิสาขบูชา, วันอาสาฬหบูชา, วันเข้าพรรษา 

  • ทรงถวายกฐินหลวงตามวัดต่าง ๆ

  • ทรงตั้งมั่นพระราชหฤทัยเกื้อหนุน เกื้อกูล เผยแผ่ และธำรงไว้ซึ่งการสืบทอดพระพุทธศาสนา ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ด้านศาสน อันเป็นภาพที่ซาบซึ้งใจของราษฎรชาวไทยทุกหมู่เหล่าเรื่อยมา

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบสาน รักษา และต่อยอดแนวพระราชดำริของสมเด็จพระบรมชนกนาถ รวมทั้งพระราชกรณียกิจด้านการศาสนา ดังนี้


  • ทรงผนวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2521 

  • ทรงแสดงพระองค์เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

  • ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจทางศาสนาเป็นประจำ 

  • ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรตามฤดูกาล 

  • ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา, วันวิสาขบูชา, วันอาสาฬหบูชา, วันเข้าพรรษา 

  • ทรงถวายกฐินหลวงตามวัดต่าง ๆ

  • ทรงตั้งมั่นพระราชหฤทัยเกื้อหนุน เกื้อกูล เผยแผ่ และธำรงไว้ซึ่งการสืบทอดพระพุทธศาสนา ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่าง ๆ ด้านศาสน อันเป็นภาพที่ซาบซึ้งใจของราษฎรชาวไทยทุกหมู่เหล่าเรื่อยมา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารักขาแก่ประชาชนชาวไทย ความว่า "เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป" ทรงเสริมสร้างความผาสุกทั้งด้านจิตใจและจิตวิญญาณของประชาชนอย่างยั่งยืน ตามหลัก “ทศพิธราชธรรม” เพื่อสืบสานความสุขบนแผ่นดินไทยตราบนานเท่านาน

ทศพิธราชธรรม ได้แก่ ทาน (การให้) – ให้ทรัพยากรเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น ศีล (ความประพฤติดี) – รักษาศีลและมีวินัยในตนเอง ปริจาคะ (ความเสียสละ) – เสียสละความสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม อาชวะ (ความซื่อสัตย์) – มีความจริงใจและยุติธรรม มัททวะ (ความอ่อนโยน) – มีความเมตตา อ่อนน้อมถ่อมตน ตปะ (การควบคุมตนเอง) – มีความยับยั้งชั่งใจและประพฤติพอประมาณ อักโกธะ (ความไม่โกรธ) – งดเว้นความโกรธและมีความอดทน อวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน) – หลีกเลี่ยงการทำร้ายผู้อื่นและสร้างสันติสุข ขันติ (ความอดทน) – มีความอดกลั้นและอดทนต่ออุปสรรค อวิโรธนะ (ความยุติธรรม) – ยึดมั่นในความถูกต้องและความเป็นธรรม


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารักขาแก่ประชาชนชาวไทย ความว่า "เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป" ทรงเสริมสร้างความผาสุกทั้งด้านจิตใจและจิตวิญญาณของประชาชนอย่างยั่งยืน ตามหลัก “ทศพิธราชธรรม” เพื่อสืบสานความสุขบนแผ่นดินไทยตราบนานเท่านาน

ทศพิธราชธรรม ได้แก่


  1. ทาน (การให้) – ให้ทรัพยากรเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น

  2. ศีล (ความประพฤติดี) – รักษาศีลและมีวินัยในตนเอง

  3. ปริจาคะ (ความเสียสละ) – เสียสละความสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

  4. อาชวะ (ความซื่อสัตย์) – มีความจริงใจและยุติธรรม

  5. มัททวะ (ความอ่อนโยน) – มีความเมตตา อ่อนน้อมถ่อมตน

  6. ตปะ (การควบคุมตนเอง) – มีความยับยั้งชั่งใจและประพฤติพอประมาณ

  7. อักโกธะ (ความไม่โกรธ) – งดเว้นความโกรธและมีความอดทน

  8. อวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน) – หลีกเลี่ยงการทำร้ายผู้อื่นและสร้างสันติสุข

  9. ขันติ (ความอดทน) – มีความอดกลั้นและอดทนต่ออุปสรรค

  10. อวิโรธนะ (ความยุติธรรม) – ยึดมั่นในความถูกต้องและความเป็นธรรม


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารักขาแก่ประชาชนชาวไทย ความว่า "เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป" ทรงเสริมสร้างความผาสุกทั้งด้านจิตใจและจิตวิญญาณของประชาชนอย่างยั่งยืน ตามหลัก “ทศพิธราชธรรม” เพื่อสืบสานความสุขบนแผ่นดินไทยตราบนานเท่านาน

ทศพิธราชธรรม ได้แก่

1. ทาน (การให้) – ให้ทรัพยากรเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น

2. ศีล (ความประพฤติดี) – รักษาศีลและมีวินัยในตนเอง

3. ปริจาคะ (ความเสียสละ) – เสียสละความสุขส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

4. อาชวะ (ความซื่อสัตย์) – มีความจริงใจและยุติธรรม

5. มัททวะ (ความอ่อนโยน) – มีความเมตตา อ่อนน้อมถ่อมตน

6. ตปะ (การควบคุมตนเอง) – มีความยับยั้งชั่งใจและประพฤติพอประมาณ

7. อักโกธะ (ความไม่โกรธ) – งดเว้นความโกรธและมีความอดทน

8. อวิหิงสา (ความไม่เบียดเบียน) – หลีกเลี่ยงการทำร้ายผู้อื่นและสร้างสันติสุข

9. ขันติ (ความอดทน) – มีความอดกลั้นและอดทนต่ออุปสรรค

10. อวิโรธนะ (ความยุติธรรม) – ยึดมั่นในความถูกต้องและความเป็นธรรม

พระวิสัยทัศน์ของสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)

วิสัยทัศน์ของ
สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
(อัมพร อมฺพโร)

พระวิสัยทัศน์ของสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)

สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ทรงมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลในการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและพัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางแห่งพระพุทธศาสนาทั้งในประเทศไทยและระดับนานาชาติ

พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของพุทธมณฑลในฐานะพื้นที่ที่ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างแท้จริง และเป็นสถานที่ที่ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักศีลธรรม โดยให้ความสำคัญกับการดูแลโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาพื้นที่ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมทางศาสนา รวมถึงให้เป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สมบูรณ์และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าทางจิตใจและวัฒนธรรม เพื่อให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาสากลที่เกื้อกูลมนุษยชาติ

โครงการพุทธมณฑลเริ่มต้นในปี 2500 ที่นครปฐมเพื่อเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 2,500 ปีแห่งพุทธศาสนา ตั้งแต่นั้นมา โครงการพุทธมณฑลได้ขยายไปยัง 38 จังหวัดทั่วประเทศไทย โดยมี 10 จังหวัดที่ได้ดำเนินการโครงการสำเร็จแล้ว เช่น ระยอง, ตราด, ปราจีนบุรี, นครพนม, มหาสารคาม, พิษณุโลก, สมุทรสาคร, นราธิวาส, ขอนแก่น และเชียงราย โดยแต่ละพุทธมณฑลจะเป็นศูนย์กลางในการทำกิจกรรมทางศาสนา การทำสมาธิ และเป็นพื้นที่สาธารณะสำหรับประชาชน รวมถึงเป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางศาสนาที่เชื่อมโยงพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลก

พระวิสัยทัศน์ของสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐ เป็นการสืบทอดและพัฒนาพระพุทธศาสนาให้มั่นคง ทั้งในประเทศไทยและระดับนานาชาติ พระองค์ทรงส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนเข้าใจหลักธรรมะอย่างแท้จริง สนับสนุนการศึกษาและปฏิบัติธรรม ตลอดจนสร้างความร่วมมือกับนานาประเทศในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เป็นศาสนาแห่งสันติภาพและความเมตตาแก่โลก

สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ทรงมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลในการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและพัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางแห่งพระพุทธศาสนาทั้งในประเทศไทยและระดับนานาชาติ

พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของพุทธมณฑลในฐานะพื้นที่ที่ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างแท้จริง และเป็นสถานที่ที่ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักศีลธรรม โดยให้ความสำคัญกับการดูแลโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาพื้นที่ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมทางศาสนา รวมถึงให้เป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สมบูรณ์และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าทางจิตใจและวัฒนธรรม เพื่อให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาสากลที่เกื้อกูลมนุษยชาติ

โครงการพุทธมณฑลเริ่มต้นในปี 2500 ที่นครปฐมเพื่อเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 2,500 ปีแห่งพุทธศาสนา ตั้งแต่นั้นมา โครงการพุทธมณฑลได้ขยายไปยัง 38 จังหวัดทั่วประเทศไทย โดยมี 10 จังหวัดที่ได้ดำเนินการโครงการสำเร็จแล้ว เช่น ระยอง, ตราด, ปราจีนบุรี, นครพนม, มหาสารคาม, พิษณุโลก, สมุทรสาคร, นราธิวาส, ขอนแก่น และเชียงราย โดยแต่ละพุทธมณฑลจะเป็นศูนย์กลางในการทำกิจกรรมทางศาสนา การทำสมาธิ และเป็นพื้นที่สาธารณะสำหรับประชาชน รวมถึงเป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางศาสนาที่เชื่อมโยงพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลก

พระวิสัยทัศน์ของสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐ เป็นการสืบทอดและพัฒนาพระพุทธศาสนาให้มั่นคง ทั้งในประเทศไทยและระดับนานาชาติ พระองค์ทรงส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนเข้าใจหลักธรรมะอย่างแท้จริง สนับสนุนการศึกษาและปฏิบัติธรรม ตลอดจนสร้างความร่วมมือกับนานาประเทศในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เป็นศาสนาแห่งสันติภาพและความเมตตาแก่โลก

สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ทรงมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลในการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและพัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางแห่งพระพุทธศาสนาทั้งในประเทศไทยและระดับนานาชาติ

พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญของพุทธมณฑลในฐานะพื้นที่ที่ช่วยให้ผู้คนเข้าถึงหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างแท้จริง และเป็นสถานที่ที่ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักศีลธรรม โดยให้ความสำคัญกับการดูแลโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาพื้นที่ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมทางศาสนา รวมถึงให้เป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สมบูรณ์และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าทางจิตใจและวัฒนธรรม เพื่อให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาสากลที่เกื้อกูลมนุษยชาติ

โครงการพุทธมณฑลเริ่มต้นในปี 2500 ที่นครปฐมเพื่อเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 2,500 ปีแห่งพุทธศาสนา ตั้งแต่นั้นมา โครงการพุทธมณฑลได้ขยายไปยัง 38 จังหวัดทั่วประเทศไทย โดยมี 10 จังหวัดที่ได้ดำเนินการโครงการสำเร็จแล้ว เช่น ระยอง, ตราด, ปราจีนบุรี, นครพนม, มหาสารคาม, พิษณุโลก, สมุทรสาคร, นราธิวาส, ขอนแก่น และเชียงราย โดยแต่ละพุทธมณฑลจะเป็นศูนย์กลางในการทำกิจกรรมทางศาสนา การทำสมาธิ และเป็นพื้นที่สาธารณะสำหรับประชาชน รวมถึงเป็นสถานที่จัดกิจกรรมทางศาสนาที่เชื่อมโยงพุทธศาสนิกชนจากทั่วโลก

พระวิสัยทัศน์ของสมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ ๒๐ เป็นการสืบทอดและพัฒนาพระพุทธศาสนาให้มั่นคง ทั้งในประเทศไทยและระดับนานาชาติ พระองค์ทรงส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนเข้าใจหลักธรรมะอย่างแท้จริง สนับสนุนการศึกษาและปฏิบัติธรรม ตลอดจนสร้างความร่วมมือกับนานาประเทศในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เป็นศาสนาแห่งสันติภาพและความเมตตาแก่โลก

วิสัยทัศน์ของ
เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่
พระเทพมังคลาจารย์

วิสัยทัศน์ของ
เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่
พระเทพ มังคลาจารย์
(สมาน กิตฺติโสภโณ)

วิสัยทัศน์ของ
เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่
พระเทพมังคลาจารย์
(สมาน กิตฺติโสภโณ)

(สมาน กิตฺติโสภโณ)

พระเทพมังคลาจารย์ (สมาน กิตฺติโสภโณ) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ มีวิสัยทัศน์ในการจัดตั้งพุทธมณฑลเชียงใหม่ ณ อำเภอดอยหล่อ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาในจังหวัดและภูมิภาค ด้วยโครงการนี้ได้รับการออกแบบให้เป็นสถานที่สำหรับการศึกษาและปฏิบัติธรรม เป็นศูนย์กลางสำหรับการทำสมาธิและเป็นเวทีสำหรับการเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้าไปยังชุมชนท้องถิ่นและทั่วโลก

สวนพุทธศาสนาเชียงใหม่มุ่งสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนและประชาชนทั่วไปในการน้อมนำคำสอนของพระพุทธเจ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน โดยจัดให้มีบรรยากาศที่สงบและเอื้ออำนวยต่อการพัฒนาสมาธิ สติปัญญา และความสงบภายใน โครงการนี้จะเป็นศูนย์กลางที่ยั่งยืนสำหรับกิจกรรมทางศาสนาและสังคม โดยเสริมสร้างบทบาทของพระพุทธศาสนาในการส่งเสริมศีลธรรมและสุขภาพจิต

สวนแห่งนี้จะมีพื้นที่เฉพาะสำหรับกิจกรรมทางศาสนาและการศึกษา เช่น การฟังเทศน์ การสวดมนต์ การฝึกสมาธิ ปฏิบัติธรรม และการสนทนาธรรม โดยทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้และเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้า ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับนานาชาติ การใช้พื้นที่ภายในโครงการได้รับการวางแผนอย่างรอบคอบเพื่อสะท้อนถึงความมุ่งมั่นในความครอบคลุมและความร่วมมือ โดยการจัดการบริหารพื้นที่เป็น 3 ส่วน ดังนี้

  • พื้นที่พุทธาวาส เป็นพื้นที่กึ่งสาธารณะสำหรับกิจกรรมทางศาสนาที่เชื่อมโยงระหว่างพระสงฆ์และฆราวาส

  • พื้นที่สังฆาวาส พื้นที่ส่วนตัวสำหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ เพื่อให้มีบรรยากาศที่สงบเหมาะสมสำหรับการปฏิบัติธรรมและภารกิจในชีวิตประจำวัน

  • พื้นที่ธรรมมธา พื้นที่สาธารณะที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา และการฝึกปฏิบัติธรรม

พระเทพมังคลาจารย์ (สมาน กิตฺติโสภโณ) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีวิสัยทัศน์ในการจัดตั้งพุทธมณฑลเชียงใหม่ที่ดอยหล่อห้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดและภูมิภาค โครงการนี้ออกแบบให้เป็นสถานที่ศึกษาและปฏิบัติธรรม เพื่อเป็นศูนย์สำหรับการทำสมาธิและเป็นแพลตฟอร์มในการเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้าไปยังทั้งชุมชนท้องถิ่นและทั่วโลก

พุทธมณฑลเชียงใหม่มีความมุ่งมั่นในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไปในการนำหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน โดยการจัดตกแต่งให้มีบรรยากาศที่เงียบสงบและเห้อมล้อมด้วยธรรมชาติ เหมาะแก่การฝึกฝนสมาธิ สติปัญญา และการสร้างความสงบภายใน ซึ่งเป็นศูนย์กลางที่ยั่งยืนสำหรับกิจกรรมทางศาสนาและสังคม โครงการนี้จะเสริมสร้างบทบาทของพระพุทธศาสนาในการส่งเสริมสร้างความดีทางจริยธรรมและความสุขทางจิตใจ สวนจะมีพื้นที่เฉพาะสำหรับกิจกรรมทางศาสนาและการศึกษา เช่น การเทศน์ การสวดมนต์ การทำสมาธิ และการสนทนาธรรม โดยจะเป็นศูนย์การเรียนรู้และเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก รวมถึงการใช้ที่ดินในโครงการถูกวางแผนอย่างรอบคอบเพื่อสะท้อนถึงความมุ่งมั่นในการสร้างความเข้าถึงและการทำงานร่วมกัน:


  • เขตพุทธาวาส: พื้นที่กึ่งสาธารณะสำหรับกิจกรรมที่เชื่อมโยงพระสงฆ์และฆราวาส ซึ่งใช้สำหรับการประกอบกิจกรรมทางศาสนาและการปฏิบัติธรรมเจริญสติ โดยเฉพาะการสักการะบูชาพระพุทธรูปหรือองค์พระพุทธศาสนาซึ่งมักจะประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น พระอุโบสถ, วิหาร, และศาลาการเปรียญ ซึ่งใช้สำหรับการทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนมัสการและศึกษาหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เขตพุทธาวาสเป็นพื้นที่ที่สงบและเหมาะสมสำหรับการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและการศึกษาธรรมะเป็นสะพานเชื่อมระหว่างศาสนาและชุมชน


  • เขตสังฆาวาส: พื้นที่สงวนไว้สำหรับการดำเนินกิจกรรมของพระสงฆ์และคณะสงฆ์ เช่น การจำพรรษา การปฏิบัติธรรม การศึกษา หรือกิจกรรมทางศาสนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระสงฆ์และคณะสงฆ์เท่านั้น เขตสังฆาวาสจะเป็นพื้นที่ส่วนตัวที่สงวนไว้สำหรับการปฏิบัติภารกิจทางสงฆ์และการดำรงชีวิตของพระสงฆ์ โดยไม่เปิดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้หรือเข้าไปในพื้นที่นี้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะสงฆ์


  • เขตธรณีสงฆ์: พื้นที่หที่พระสงฆ์หรือคณะสงฆ์ถือครองและใช้สำหรับการประกอบกิจกรรมทางศาสนา เช่น การสร้างวัด การปฏิบัติธรรม หรือการดำเนินกิจกรรมทางศาสนาอื่น ๆ โดยพื้นที่นี้ถือเป็นสมบัติของคณะสงฆ์หรือองค์กรศาสนา ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายที่ช่วยให้สามารถใช้ที่ดินเพื่อประโยชน์ทางศาสนาได้โดยไม่ถูกบุกรุกหรือใช้ในทางอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรม เป็นพื้นที่สาธารณะที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาและการฝึกปฏิบัติธรรม

พระเทพมังคลาจารย์ (สมาน กิตฺติโสภโณ) เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ ได้มีวิสัยทัศน์ในการจัดตั้งพุทธมณฑลเชียงใหม่ที่ดอยหล่อห้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาในจังหวัดและภูมิภาค โครงการนี้ออกแบบให้เป็นสถานที่ศึกษาและปฏิบัติธรรม เพื่อเป็นศูนย์สำหรับการทำสมาธิและเป็นแพลตฟอร์มในการเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้าไปยังทั้งชุมชนท้องถิ่นและทั่วโลก

พุทธมณฑลเชียงใหม่มีความมุ่งมั่นในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไปในการนำหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าไปใช้ในชีวิตประจำวัน โดยการจัดตกแต่งให้มีบรรยากาศที่เงียบสงบและเห้อมล้อมด้วยธรรมชาติ เหมาะแก่การฝึกฝนสมาธิ สติปัญญา และการสร้างความสงบภายใน ซึ่งเป็นศูนย์กลางที่ยั่งยืนสำหรับกิจกรรมทางศาสนาและสังคม โครงการนี้จะเสริมสร้างบทบาทของพระพุทธศาสนาในการส่งเสริมสร้างความดีทางจริยธรรมและความสุขทางจิตใจ สวนจะมีพื้นที่เฉพาะสำหรับกิจกรรมทางศาสนาและการศึกษา เช่น การเทศน์ การสวดมนต์ การทำสมาธิ และการสนทนาธรรม โดยจะเป็นศูนย์การเรียนรู้และเผยแผ่คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก รวมถึงการใช้ที่ดินในโครงการถูกวางแผนอย่างรอบคอบเพื่อสะท้อนถึงความมุ่งมั่นในการสร้างความเข้าถึงและการทำงานร่วมกัน:


  • เขตพุทธาวาส: พื้นที่กึ่งสาธารณะสำหรับกิจกรรมที่เชื่อมโยงพระสงฆ์และฆราวาส ซึ่งใช้สำหรับการประกอบกิจกรรมทางศาสนาและการปฏิบัติธรรมเจริญสติ โดยเฉพาะการสักการะบูชาพระพุทธรูปหรือองค์พระพุทธศาสนาซึ่งมักจะประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น พระอุโบสถ, วิหาร, และศาลาการเปรียญ ซึ่งใช้สำหรับการทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนมัสการและศึกษาหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า เขตพุทธาวาสเป็นพื้นที่ที่สงบและเหมาะสมสำหรับการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและการศึกษาธรรมะเป็นสะพานเชื่อมระหว่างศาสนาและชุมชน


  • เขตสังฆาวาส: พื้นที่สงวนไว้สำหรับการดำเนินกิจกรรมของพระสงฆ์และคณะสงฆ์ เช่น การจำพรรษา การปฏิบัติธรรม การศึกษา หรือกิจกรรมทางศาสนาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระสงฆ์และคณะสงฆ์เท่านั้น เขตสังฆาวาสจะเป็นพื้นที่ส่วนตัวที่สงวนไว้สำหรับการปฏิบัติภารกิจทางสงฆ์และการดำรงชีวิตของพระสงฆ์ โดยไม่เปิดให้บุคคลภายนอกเข้ามาใช้หรือเข้าไปในพื้นที่นี้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะสงฆ์


  • เขตธรณีสงฆ์: พื้นที่หที่พระสงฆ์หรือคณะสงฆ์ถือครองและใช้สำหรับการประกอบกิจกรรมทางศาสนา เช่น การสร้างวัด การปฏิบัติธรรม หรือการดำเนินกิจกรรมทางศาสนาอื่น ๆ โดยพื้นที่นี้ถือเป็นสมบัติของคณะสงฆ์หรือองค์กรศาสนา ซึ่งมีสถานะทางกฎหมายที่ช่วยให้สามารถใช้ที่ดินเพื่อประโยชน์ทางศาสนาได้โดยไม่ถูกบุกรุกหรือใช้ในทางอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรม เป็นพื้นที่สาธารณะที่เปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาและการฝึกปฏิบัติธรรม


ยินดีต้อนรับสู่พุทธมณฑลเชียงใหม่

ยินดีต้อนรับสู่พุทธมณฑลเชียงใหม่

ยินดีต้อนรับสู่พุทธมณฑลเชียงใหม่

?

?

คลิกปุ่มเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อทราบว่าพุทธมณฑลเชียงใหม่คืออะไร

เรียนรู้เพิ่มเติม

?

คลิกปุ่มเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อทราบว่าพุทธมณฑลเชียงใหม่คืออะไร

เรียนรู้เพิ่มเติม

พุทธมณฑล

เชียงใหม่

หมู่บ้านโทกเสือ ตำบลดอยหล่อ อำเภอดอยหล่อ

จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50160

©2024 Phutthamonthon Chiang Mai

พุทธมณฑล

เชียงใหม่

หมู่บ้านโทกเสือ ตำบลดอยหล่อ อำเภอดอยหล่อ

จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50160

©2024 Phutthamonthon Chiang Mai

พุทธมณฑล

เชียงใหม่

หมู่บ้านโทกเสือ ตำบลดอยหล่อ อำเภอดอยหล่อ

จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย 50160

©2024 Phutthamonthon Chiang Mai